วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2557

Moore's law


กฎของมัวร์ (Moore's law) อธิบายถึง ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม โดยจะเพิ่มเป็นเท่าตัวประมาณทุก ๆ สองปี กฎนี้ได้ถูกพิสูจน์อย่างต่อเนื่องมาแล้วกว่าครึ่งศตวรรษ และคาดว่าจะใช้ได้จนถึงปี 2015 หรือ 2020 หรืออาจมากกว่านั้น
ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากมาย เป็นไปตามกฎของมัวร์อย่างเห็นได้ชัด เช่น ความเร็วประมวลผล ความจุของแรม เซ็นเซอร์ หรือแม้แต่จำนวนพิกเซลของกล้องดิจิทัล ทั้งหมดนี้เป็นข้อมูลสนับสนุนอย่างคร่าว ๆ (ยังมีกฎอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่นราคาต่อหน่วย) การพัฒนาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ กฎของมัวร์ได้อธิบายแรงการขับเคลื่อนของเทคโนโลยี ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 20 ไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 21
ชื่อของกฎถูกตั้งตามชื่อของ อดีตซีอีโอและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล กอร์ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore) เขาได้อธิบายกฎนี้ไว้ในรายงานของเขาเมื่อปี 1965 รายงานนั้นได้ระบุไว้ว่า จำนวนของส่วนประกรอบในวงจรรวมจะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุก ๆ ปี ตั้งแต่ปี 1958 ไปจนถึง 1965 และคาดว่าจะเป็นอย่างนี้ไปอีก "อย่างน้อยสิบปี" การทำนายของเขายังเป็นไปตามที่คาดไว้อย่างน่าประหลาดใจ อย่างน้อยกฎนี้ปัจจุบันยังถูกใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำที่ได้ถูกใช้เป็นแนวทางของแผนที่จะเป็นเป้าหมายของของการวิจัย และพัฒนา



  คําว่า “กฎของมัวร์” นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์   Caltech   นามว่า      Carver Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้เป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965  ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975








วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557

intel core ไหนแรง


เรามาดูกันว่า Intel core ตัวไหนแรงและดีกว่ากัน ???


มาเริ่มต้นกันที่ Notebook กันก่อนเลย




ต่อด้วย PC




Intel® Core™ M Processors



ค้นหาข้อมูลได้ที่ http://www.intel.com/content/www/us/en/homepage.html

Performance Chart ของ CPU (สามารถคลิกลิงก์ที่อยากดูได้เลย)
High End CPUs 
High Mid Range CPUs
Low Mid Range CPUs 
Common CPUs
Laptop & Portable CPU Performance

ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.cpubenchmark.net/


เว็บที่ได้ทำการเปรียบเทียบ ตัว CPU ของ Intel core แต่ละรุ่น ได้แก่
Notebookspec.com



ข้อมูลของตัว Intel core ark.intel


ไปที่Site https://sites.google.com/site/pornpakp55/intel-core-hin-raeng



โปรแกรมใช้บ่อยและสิ่งที่ทดแทน


ตั้งแต่เรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมอะไรบ้าง แล้วมีโปรแกรไหนบ้างที่สามารถทดแทนกันได้

เริ่มตั้งแต่เรียนการเขียนภาษา C++ เราเริ่มจากการเขียนใน terminal ใน Ubuntu หน้าจอดำๆ ที่ต้องมานั่งลงตัว compile เอาเอง และตัวนีก็เป็นอีกตัวที่เจอบ่อย Microsoft Visual C++ version อะไรก็ได้ 




โปรแกรมที่สามารถทดแทนกันได้ ใช้ได้เหมือนกันเพื่อเป็นอีกทางเลือกที่ดี ที่เราใช้บ่อยๆ เลย
 Code Block


Dev C++

ซึ่งยังมีโปรแกรมอีกมากมาย และมีอีกหนี่งทางเลือก คือ การนำCode ไป compile ในเว็บได้


**อาจจะมีข้อเสียมากกว่าการใช้โปรแกรมโดยตรง

โปรแกรมที่ใช้ในการค้นหาเชื่อว่าเราขาดมันไม่ได้อย่างแน่นอน อย่าง 
Google Chrome




และโปรแกรมที่ทดแทนกันได้มีมากมาย เช่น
Firefox

Internet Explorer



โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF ที่ตอนนี้ไฟล์เอกสารส่วนใหญ่จะเป็นไฟล์
Adobe Reader



โปรแกรมที่ทดแทนกันได้ ก็จะมี





โปรแกรมฟังเพลง ดูMV ดูหนัง ก็เป็นอีกอย่างที่เราใช้บ่อยมากๆ


โปรแกรมที่ทดแทนกันได้ และเราใช้มันบ่อยมาก อย่าง





#ยังมีโปรแกรมทั้งที่เห็นกันทั่งไปและที่ใช้ทดแทนกันได้อีกมากมาย ที่ยังไม่ได้ลงในblog


ไปที่Site  https://sites.google.com/site/pornpakp55/porkaerm-chi-bxy-laea-sing-thi-thdthaen

วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2557

10 คำถามที่ถูกถามบ่อยๆ


ตั้งแต่เรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มามักเจอคำถามพวกนี้อยู่เสมอ




1. ซ่อมคอมฯเป็นมั้ย
2. แนะนำคอมพิวเตอร์แรงๆที่เหมาะสำหรับเล่นเกมส์หน่อย
3. การ์ดจอดูอย่างไร
4. มีNotebookที่น้ำหนักเบา หรือเครื่องเล็กๆมั้ย
5. แนะนำ Notebook ที่ดีและราคาถูกหน่อย
ุ6. สเปกของคอมพิวเตอร์เหมือนกัน แต่ทำไมราคาต่างกันนัก
7. ทำไมคอมฯมันช้า
8. ซื้อสมาร์ทโฟนของค่ายไหนดี
9. แนะนำNotebook ดีๆ ราคาประหยัดหน่อย
10. core ของ Intel มันต่างกันยังไง



ไปที่Site  https://sites.google.com/site/pornpakp55/10-question